โครงการโรงเรียนพัฒนาตนเอง
(Teacher and School Quality Program: TSQP)

ยกระดับคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนให้สามารถพัฒนาตนเองได้ทั้งระบบ
(Whole School Approach) ทั้งด้านการพัฒนาคุณภาพของระบบบริหารจัดการ
และการเรียนการสอนที่มีคุณภาพสูงในชั้นเรียน เพื่อพัฒนานักเรียนให้เกิดสมรรถนะในศตวรรษที่ 21

เป้าประสงค์ของโครงการ

กรอบแนวคิดการพัฒนาคุณภาพโรงเรียนทั้งระบบ

องค์ประกอบและมาตรการสนับสนุน
“โรงเรียนพัฒนาตนเอง”

แนวคิดเชิงยุทธศาสตร์

การวิจัยเชิงปฏิบัติการให้เห็นผลเป็นรูปธรรมที่มุ่งหวังการขยายผลได้โดยหน่วยงานต้นสังกัด

เป้าหมายการดำเนินงานตามกรอบการดำเนินงานปี 2564

สร้างโครงการ/การวิจัยและสร้างความรู้พื้นฐาน Generate Interventions

สร้างโครงการ/การวิจัยและสร้างความรู้พื้นฐาน
  • สร้างองค์ความรู้ในการพัฒนาโรงเรียนจากนวัตกรรมทั้งในและต่างประเทศ
  • วัดผลลัพธ์การเรียนรู้ของนักเรียน
  • วิจัยและพัฒนาโรงเรียนต้นแบบและแกนนำ
  • จัดทำระบบดูแลและช่วยเหลือนักเรียนกลุ่มเสี่ยง

ทดลอง พัฒนาต้นแบบ
Pilot & Incubate

สร้างโครงการ/การวิจัยและสร้างความรู้พื้นฐาน
  • มีระบบสารสนเทศคุณภาพเพื่อการพัฒนาโรงเรียนในเครือข่าย
  • ระบบช่วยเหลือครูและนักเรียนในสถานการณ์โควิด-19

ขยายผลและเพิ่มจำนวนกลุ่มเป้าหมาย
Scale & Accelerate

  • ภายใต้โรงเรียนกลุ่มเป้าหมายเดิม 727 แห่ง
  • ผ่านความร่วมมือของหน่วยงานต้นสังกัด สพฐ. อปท. และ สช.

ผลักดันเชิงนโยบาย
Advocate

  • สื่อสารผลงานควบคู่กับนโยบายสู่หน่วยงานต่าง ๆ และในระดับสังคม
  • จัดทำข้อเสนอขับเคลื่อนเชิงนโยบาย
  • ผลักดันให้เกิดการนำไปใช้และขยายผลเชิงระบบ

ติดตามผล ประเมินผล
Monitor & Evaluate

  • ติดตามและประเมินผลเชิงคุณภาพระดับเครือข่าย และตัวโรงเรียน
  • ถอดบทเรียนเชิงกระบวนการเพื่อพัฒนา
  • ประเมินและวิเคราะห์ผล (ด้านผลผลิตและผลลัพธ์)

โครงการโรงเรียนพัฒนาตนเอง
(Teacher and School Quality Program: TSQP)

มุ่งเน้นการเพิ่มขีดความสามารถของโรงเรียนให้สามารถพัฒนาตนเองได้ทั้งระบบ (Whole School Approach) ทั้งด้านการพัฒนาคุณภาพของระบบบริหารจัดการ

แนวทางการดำเนินงาน

ส่วนที่ 1 กระบวนการพัฒนาคุณภาพโรงเรียนทั้งระบบ

  • การสนับสนุนโรงเรียนเป้าหมาย
    ซึ่งพัฒนาคุณภาพด้วยมาตรการที่กำหนดไว้ในโครงการ TSQP และประยุกต์นวัตกรรมด้านการเรียนการสอน จากเครือข่ายร่วมพัฒนาทั้ง 11 เครือข่ายอย่างต่อเนื่อง
  • การสนับสนุนการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพการศึกษา (Q-Info)
    ให้มีประสิทธิภาพ สนองต่อความต้องการและการดำเนินงานของโรงเรียนทั้งระบบ รวมไปถึงเชื่อมโยงกับหน่วยงานต้นสังกัดและหลักสูตรฐานสมรรถนะ

ส่วนที่ 2 กระบวนการวิจัย ติดตาม
ถอดบทเรียนเพื่อการสื่อสารและขยายผล

  • การติดตามประเมินผลการดำเนินงาน และการประเมินผลเชิงพัฒนา (Developmental Evaluation)
  • การสนับสนุนให้เกิดการขยายผลจากโรงเรียนต้นแบบที่มีความพร้อมสูง
  • การนำเครื่องมือที่ได้จากการวิจัยมาใช้วัดผล
  • การวิจัยเพื่อเก็บเกี่ยวผลการศึกษา
  • การจัดให้มีการสื่อสารสังคม (Public Advocacy)
  • การถอดบทเรียนการดำเนินงานโครงการ

TSQP กับการยกระดับเป้าหมายเพื่อความท้าทาย ปี 2564

เป้าหมายระดับนโยบาย (Ultimate goal)

ลดอัตราการหลุดออกจากระบบการศึกษา

ลดภาวการณ์เรียนรู้ถดถอย

เพิ่มโอกาสการเข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพ

ดูแลช่วยเหลือและพัฒนาต่อเนื่องตามตามศักยภาพของเด็ก/เยาวชน

ผลผลิต Output

มีระบบสารสนเทศที่สนับสนุนการพัฒนาคุณภาพโรงเรียนและนักเรียนได้เป็นรายบุคคล

เกิดข้อเสนอเชิงนโยบายในระดับโรงเรียนและเขตพื้นที่การศึกษา

ครูสามารถจัดการเรียนรู้เชิงรุกเพิ่ม Active Learning

สื่อเผยแพร่ความรู้ สร้างการรับรู้ในระดับโรงเรียน และเครือข่าย

โรงเรียนต้นแบบ ร้อยละ 10 เป็นแกนนำโรงเรียนพัฒนาตนเองและเป็นศูนย์เรียนรู้เพื่อขยายผล

ผู้บริหารและผู้อำนวยการ มีภาวะในการเป็นผู้นำทางวิชาการ สามารถมีบทบาทในการ coaching ได้

ครูจำนวน 13,281 คน เกิดการพัฒนาตนเอง สามารถจัดการเรียนรู้เชิงรุก และประเมินผลนักเรียนได้

โรงเรียนเป้าหมาย ร้อยละ 80 เกิดการพัฒนาคุณภาพได้ทั้งระบบ

ผลลัพธ์ Outcome

นักเรียน 174,364 คน มีผลการเรียนและทักษะการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21 สูงขึ้น

นักเรียน 60,230 คน ได้รับการดูแลอย่างทั่วถึงและได้รับการพัฒนาเต็มตามศักยภาพ

อัตราขาดเรียนและการหลุดออกจากระบบการศึกษาลดลง

หน่วยงานต้นสังกัดในระดับพื้นที่และบุคลากรร่วมเรียนรู้และสนับสนุนการขับเคลื่อนนโยบาย

ครอบครัวและชุมชนมีส่วนร่วมในการพัฒนาโรงเรียนและดูแลการศึกษาของนักเรียน

มีการเปลี่ยนแปลงเชิงระบบ

ผลกระทบ Impact

นักเรียนสามารถดำเนินชีวิตได้ภายใต้การเปลี่ยนแปลงของสังคมและโลกในศตวรรษที่ 21

คุณภาพครูและบุคลากรทางการศึกษาของประเทศเกิดการพัฒนาสมรรถะการจัดการเรียนรู้ใหม่

นักเรียนสามารถเข้าถึงทรัพยากรและระบบการศึกษาที่มีคุณภาพได้อย่างเท่าเทียม

การจัดการเรียนรู้แนวใหม่

เรื่องที่เกี่ยวข้อง

โรงเรียนพัฒนาตนเอง กสศ. 6 จังหวัดภาคอีสาน ฉายภาพความสำเร็จ 3 ปี ชู Open Class ช่วยสร้างการเรียนรู้ระหว่างครูด้วยกัน เด็กมีความสุขกับการศึกษามากขึ้น
8 มีนาคม 2566

โรงเรียนพัฒนาตนเอง กสศ. 6 จังหวัดภาคอีสาน ฉายภาพความสำเร็จ 3 ปี ชู Open Class ช่วยสร้างการเรียนรู้ระหว่างครูด้วยกัน เด็กมีความสุขกับการศึกษามากขึ้น

‘เมื่อครูเปลี่ยนห้องเรียนก็เปลี่ยน’ กสศ. ลงพื้นที่ขยายผลโรงเรียนพัฒนาตนเอง 6 จังหวัดภาคอีสาน
1 มีนาคม 2566

‘เมื่อครูเปลี่ยนห้องเรียนก็เปลี่ยน’ กสศ. ลงพื้นที่ขยายผลโรงเรียนพัฒนาตนเอง 6 จังหวัดภาคอีสาน

3 ผู้บริหารโรงเรียน กล้า บ้าบิ่น ดึงพลังครู มุ่งเป้าหมายผลลัพธ์ “ผู้เรียน” เรียนรู้อย่างมีความสุข
2 กุมภาพันธ์ 2566

3 ผู้บริหารโรงเรียน กล้า บ้าบิ่น ดึงพลังครู มุ่งเป้าหมายผลลัพธ์ “ผู้เรียน” เรียนรู้อย่างมีความสุข

How To เรียน ‘ประวัติศาสตร์’ ในศตวรรษที่ 21ฉบับ ร.ร.บ้านโกรกลึก จ.นครราชสีมา (TSQP)
30 พฤศจิกายน 2565

How To เรียน ‘ประวัติศาสตร์’ ในศตวรรษที่ 21ฉบับ ร.ร.บ้านโกรกลึก จ.นครราชสีมา (TSQP)

จาก TSQP สู่ TSQM รวมพลังขับเคลื่อน ‘โรงเรียนพัฒนาตนเอง’ เปลี่ยน ‘หนอน’ ให้กลายเป็น ‘ผีเสื้อ’
30 พฤศจิกายน 2565

จาก TSQP สู่ TSQM รวมพลังขับเคลื่อน ‘โรงเรียนพัฒนาตนเอง’ เปลี่ยน ‘หนอน’ ให้กลายเป็น ‘ผีเสื้อ’

​​How to เรียน ‘ประวัติศาสตร์’ ในศตวรรษที่ 21
29 พฤศจิกายน 2565

​​How to เรียน ‘ประวัติศาสตร์’ ในศตวรรษที่ 21

รายชื่อโรงเรียน พื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้

จังหวัด นราธิวาส จำนวน 4 โรงเรียน

  • โรงเรียนผดุงมาตร
  • โรงเรียนสวนพระยาวิทยา
  • โรงเรียนราชพัฒนา
  • โรงเรียนนราสิกขาลัย

จังหวัดยะลา จำนวน 15 โรงเรียน

  • โรงเรียนไทยรัฐวิทยา 94 (บ้านบ่อน้ำร้อน)
  • โรงเรียนคุรุชนพัฒนา
  • โรงเรียนบ้านตาเซะ
  • โรงเรียนบ้านราโมง
  • โรงเรียนบ้านกาตอง
  • โรงเรียนบ้านหลักเขต
  • โรงเรียนพัฒนาบาลอ
  • โรงเรียนบ้านโกตาบารู
  • โรงเรียนบ้านตะโละหะลอ
  • โรงเรียนบ้านเยาะ
  • โรงเรียนบ้านโต
  • โรงเรียนบ้านลูโบ๊ะปันยัง
  • โรงเรียนบ้านคลองน้ำใส
  • โรงเรียนบ้านสะเอะ
  • โรงเรียนกาบังพิทยาคม

จังหวัดปัตตานี จำนวน 16 โรงเรียน

  • โรงเรียนวุฒิชัยวิทยา
  • โรงเรียนนิคมสร้างตนเองโคกโพธิ์ มิตรภาพที่ 148
  • โรงเรียนบ้านบางมะรวด
  • โรงเรียนบ้านท่าน้ำตะวันออก
  • โรงเรียนบ้านน้ำบ่อ
  • โรงเรียนบ้านปาลัส
  • โรงเรียนบ้านตรัง
  • โรงเรียนบ้านกระเสาะ
  • โรงเรียนบ้านบูดี
  • โรงเรียนบ้านฝาง
  • โรงเรียนบ้านตะโละไกรทอง
  • โรงเรียนบ้านน้ำดำ
  • โรงเรียนบ้านโลทู
  • โรงเรียนบ้านวังกว้าง
  • โรงเรียนสะนอพิทยาคม
  • โรงเรียนวังกะพ้อพิทยาคม

รายชื่อโรงเรียน ภาคตะวันตก

จังหวัดตาก จำนวน 1 โรงเรียน

  • โรงเรียนบ้านร่มเกล้า 2

รายชื่อโรงเรียน พื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้

จังหวัด นราธิวาส จำนวน 6 โรงเรียน

  • โรงเรียนผดุงมาตร
  • โรงเรียนสวนพระยาวิทยา
  • โรงเรียนราชพัฒนา
  • โรงเรียนนราสิกขาลัย
  • โรงเรียนพิทักษ์วิยากุมุง
  • บ้านบูเก๊ะตาโมง มิตรภาพที่ 128

จังหวัดสงขลา จำนวน 20 โรงเรียน

  • โรงเรียนบ้านม้างอน
  • โรงเรียนวัดประจ่า
  • โรงเรียนจะนะชนูปถัมภ์
  • โรงเรียนบ้านป่าโอน
  • โรงเรียนชุมชนนิคม สร้างตนเองเทพา
  • โรงเรียนบ้านกระอาน
  • โรงเรียนบ้านวังใหญ่
  • โรงเรียนเทพา
  • โรงเรียนบ้านป่าเร็ด
  • โรงเรียนบ้านนาปรัง
  • โรงเรียนทับช้างวิทยาคม
  • โรงเรียนชุมชนบ้านนากัน
  • โรงเรียนบ้านโคกตก
  • โรงเรียนบ้านคอลอมุดอ
  • โรงเรียนบ้านบาโหย
  • โรงเรียนเขาแดงกุศลวิทยา
  • โรงเรียนบ้านเขาพระ
  • โรงเรียนบ้านพระพุทธ
  • โรงเรียนบ้านปากบางนาทับ
  • โรงเรียนบ้านคูนายสังข์

จังหวัดยะลา จำนวน 10 โรงเรียน

  • โรงเรียนบ้านราโมง
  • โรงเรียนพัฒนาบาลอ
  • โรงเรียนบ้านโกตาบารู
  • โรงเรียนบ้านตะโละหะลอ
  • โรงเรียนบ้านคลองน้ำใส
  • โรงเรียนบ้านสะเอะ
  • โรงเรียนกาบังพิทยาคม
  • บ้านด่านสันติราษฎร์
  • อัยเยอร์เวง
  • บ้านจุโป

จังหวัดปัตตานี จำนวน 8 โรงเรียน

  • โรงเรียนวุฒิชัยวิทยา
  • โรงเรียนบ้านกระเสาะ
  • โรงเรียนบ้านตะโละไกรทอง
  • โรงเรียนบ้านน้ำดำ
  • โรงเรียนบ้านโลทู
  • โรงเรียนบ้านวังกว้าง
  • โรงเรียนวังกะพ้อพิทยาคม
  • บ้านบางทัน

รายชื่อโรงเรียน ภาคตะวันตก

จังหวัดตาก จำนวน 1 โรงเรียน

  • โรงเรียนบ้านร่มเกล้า 2