ประเทศไทยมีโรงเรียนขนาดเล็กในพื้นที่ห่างไกลราว 2,000 แห่ง

ทั้งที่ตั้งอยู่บนพื้นที่สูง เกาะแก่ง หรือพื้นที่ชายขอบ ที่ไม่สามารถควบรวมกับโรงเรียนใกล้เคียงได้
โรงเรียนเหล่านี้จำเป็นต้องได้รับการดูแลและพัฒนาคุณภาพ เพื่อสร้างโอกาสให้การเข้าถึงการศึกษาของเด็กและเยาวชนในถิ่นทุรกันดาร

4

ลักษณะของโรงเรียนในพื้นที่ห่างไกล

อยู่บนพื้นที่สูงอยู่บนพื้นที่สูง
อยู่แนวชายขอบอยู่แนวชายขอบ
อยู่ตามเกาะแก่งอยู่ตามเกาะแก่ง
พื้นที่เสี่ยงภัยพื้นที่เสี่ยงภัย
4

ปัญหาหลักในโรงเรียนที่อยู่ในพื้นที่ห่างไกล

อัตราการโยกย้าย
                    ของครูสูงอัตราการโยกย้าย ของครูสูง
ขาดแคลนครูและ
                    บุคลากรขาดแคลนครูและ บุคลากร
เด็กไม่ได้รับการศึกษา
                    อย่างมีประสิทธิภาพเด็กไม่ได้รับการศึกษา อย่างมีประสิทธิภาพ
คนในชุมชนส่วนใหญ่
                    มีฐานะยากจนคนในชุมชนส่วนใหญ่ มีฐานะยากจน

โครงการครูรัก(ษ์)ถิ่น จึงเกิดขึ้นเพื่อสร้างโอกาสสำหรับนักเรียนในพื้นที่ห่างไกล ให้ได้ศึกษา พัฒนาศักยภาพกลับมาเป็นครูรุ่นใหม่เพื่อพัฒนาคุณภาพโรงเรียนในชุมชน
ภายใต้เป้าหมายและผลลัพธ์เหล่านี้

สร้างโอกาส ส่งเสริมนักเรียนที่ขาดแคลนทุนทรัพย์
และมีจิตวิญญาณการป็นครู ได้เข้ารับการศึกษาและกลับไปพัฒนา
การศึกษาในพื้นที่ของตนเอง

ได้เรียนรู้และพัฒนา
              ศักยภาพการเป็นครูงได้เรียนรู้และพัฒนา ศักยภาพการเป็นครู
ลงฝึกปฏิบัติการ
              ในพื้นที่จริงลงปฏิบัติการ
ในพื้นที่จริง
เสริมความรู้ทั้งใน
              ด้านภาษาและ ITเสริมความรู้ทั้งใน
ด้านภาษาและ IT
มีส่วนร่วมในเวที
              วิชาการระดับชาติ
              และนานาชาติมีส่วนร่วมในเวทีวิชาการ ระดับชาติและนานาชาติ
ได้การสนับสนุน
              ในการจัดกระบวนการ
              พัฒนาชุมชนได้การสนับสนุนในการจัดกระบวนการพัฒนาชุมชน
ได้กลับมาช่วยและมอบ
              โอกาสทางการศึกษา
              ให้กับชุมชนบ้านเกิดได้กลับมาช่วยและมอบโอกาสทางการศึกษา
ให้กับชุมชนบ้านเกิด

เพิ่มการเข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพของเด็กในพื้นที่ห่างไกล เพื่อช่วยแก้ไขปัญหาการขาดแคลนครู
ในโรงเรียนที่ตั้งอยู่ในชนบทห่างไกล และยังมีบทบาทเป็นครูนักพัฒนาชุมชนเพื่อเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลง ให้แก่ชุมชนที่เป็นภูมิลำเนาของตนเอง
การศึกษาในพื้นที่ของตนเอง

พัฒนาคุณภาพชีวิต
            ของเด็กในชุมชนพัฒนาคุณภาพชีวิต
ของเด็กในชุมชน
เด็ก ๆ ได้รับการศึกษา
            ตามมาตรฐานเด็ก ๆ ได้รับการศึกษา ตามมาตรฐาน
โรงเรียนมีศักยภาพ
            ภายใต้เป้าหมายระยะยาวโรงเรียนมีศักยภาพ
ภายใต้เป้าหมาย
ระยะยาว
เกิดเครือข่ายระหว่าง
            ชุมชนและโรงเรียนเกิดเครือข่ายระหว่าง ชุมชนและโรงเรียน
ลดปัญหาความเหลื่อมล้ำ
            ทางการศึกษาลดปัญหาความเหลื่อมล้ำ
ทางการศึกษา

ขยายเครือข่าย ของสถานศึกษา เพื่อพัฒนาระบบการศึกษาประเทศไทยให้สอดคล้องกับบริบทและพื้นที่ของเมืองไทยยิ่งขึ้น

ได้พัฒนาระบบการศึกษา
              ให้สอดคล้องกับปัจจุบันได้พัฒนาระบบการศึกษา
ให้สอดคล้องกับปัจจุบัน
เกิดเครือข่ายระหว่าง
              องค์กรผ่านการ
              สนับสนุนนักเรียนทุนเกิดเครือข่ายระหว่างองค์กร
ผ่านการสนับสนุนนักเรียนทุน
เกิดการแลกเปลี่ยน
              องค์ความรู้
              ระหว่างสถาบันเกิดการแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ ระหว่างสถาบัน
ยกระดับเป็นสถาบันต้นแบบ
              ในการผลิตและพัฒนาครูยกระดับเป็นสถาบันต้นแบบ
ในการผลิตและพัฒนาครู

ผลลัพธ์ นำไปสู่ต้นแบบของระบบการพัฒนาครู

ได้ข้อมูลเชิงลึก 0 โรงเรียน
ทำงานร่วมกับ
สถาบันระดับอุดมศึกษา
0 แห่ง
มีการพัฒนานักศึกษาทุนร่วมกับโครงการทุนนวัฒรกรรมสายอาชีพระดับปวส. 0 ทุน
ผู้บริหารและครูในโรงเรียนพื้นที่ห่างไกลได้รับการพัฒนาไม่น้อยกว่า 0 คน จาก 0 โรงเรียน

ผลลัพธ์ ในด้านการเชื่อมโยง และทำงานกับหน่วยงานและโครงการอื่น ๆ ในกสศ.

เกิดแนวทางนโยบายกำหนด
              อัตราครูที่สอดคล้องกับ
              ความต้องการ ผ่านการร่วมมือ
              กันทั้ง 6 ภาคี (สพฐ, กคศ, 
              คุรุสภา, อว, กระทรวงศึกษาฯ 
              และ กสศ)เกิดแนวทางนโยบายกำหนด อัตราครูที่สอดคล้องกับความต้องการ ผ่านการร่วมมือกัน ทั้ง 6 ภาคี (สพฐ, กคศ, คุรุสภา, อว, กระทรวงศึกษาฯ และ กสศ)
นักเรียนทุนในรุ่นที่ 1 และ 2 
              มีจำนวนกว่า 600 คนและ
              จะได้รับการบรรจุใน
              โรงเรียนห่างไกลภายในอนาคตนักศึกษาทุนจะได้รับการบรรจุในโรงเรียนเป้าหมายเมื่อเรียนจบหลักสูตร
เกิดการทำงานในเชิงรุก 
              เพื่อพัฒนาสถาบันต้นแบบ
              ในการผลิตและพัฒนาครูเกิดการทำงานในเชิงรุก เพื่อพัฒนาสถาบันต้นแบบ ในการผลิตและพัฒนาครู
แผนงานในอนาคตเกิดแนวทางนวัตกรรม อาทิ การพัฒนาครูระบบปิด การพัฒนาฐานข้อมูลอัตรากำลังครู

ผลการดำเนินโครงการ
ครูรัก(ษ์)ถิ่น
ปีการศึกษา 2563-2565






พื้นที่ดำเนินโครงการครูรัก(ษ์)ถิ่น รุ่นที่ 1 และ 2

ในสาขาปฐมศึกษา ปฐมวัย

ในสาขาปฐมศึกษา ปฐมวัย







ครอบคลุม จังหวัด อำเภอ ตำบล สถาบันผลิต
และพัฒนาครู
โรงเรียน อัตราบรรจุ 0 0 0 0 0 0

ภาคเหนือ







จังหวัด อำเภอ ตำบล โรงเรียน อัตราบรรจุ สถาบันผลิต
และพัฒนาครู
0 0 0 0 0 0
Download รายละเอียด

DIARY ครูรัก(ษ์)ถิ่น

”ถ้าไม่มีโครงการนี้ หนูก็คงไม่ได้เรียนต่อเพราะอยู่ในพื้นที่ที่ ห่างไกล จนมีทุนนี้ก็ทำให้มีหวังและสุดท้ายก็ได้เดินหน้าสู่ เป้าหมายที่อยากกลับมาเป็นครูสอนน้อง ๆ ในพื้นที่ ได้นำ ความรู้ไปพัฒนาชุมชน โรงเรียน และเด็ก ๆ ทุนนี้จึงไม่ใช่ได้ แค่ตัวเรา แต่ได้ทั้งหมู่บ้านและชุมชน”

มะห์สวานี กาซอ(มัส)
นักศึกษา คณะครุศาสตร์ มรภ.ยะลา
หนึ่งในนักเรียนทุนจากโครงการครูรัก(ษ์)ถิ่น รุ่นที่ 1

”ครูรัก(ษ์)ถิ่น ไม่ใช่แค่สอนหนังสือ แต่ต้องเป็นนักพัฒนาชุมชนด้วย ตอนนี้ก็ตั้งใจเรียนเพื่อที่จะได้กลับไปเป็นครูที่ชุมชนตัวเอง ทำหน้าที่ตัวเองให้ดีที่สุด”

อินทิรา สุขใจ (อิน)
นักศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มช.
หนึ่งในนักเรียนทุนจากโครงการครูรัก(ษ์)ถิ่น รุ่นที่ 1

ก้าวต่อไป ครูรัก(ษ์)ถิ่น

”กสศ. มุ่งมั่นให้โครงการครูรัก(ษ์)ถิ่น เป็นส่วนหนึ่งของ การปฏิรูปการศึกษา
ที่นำไปสู่การพัฒนาครูของประเทศไทย อย่างชัดเจน เริ่มตั้งแต่การเปลี่ยนแปลง
การผลิตครูจากศูนย์ กลางไปสู่การผลิตครูที่สอดคล้องกับพื้นที่ เป็นครูคุณภาพ ทำงานที่ร่วมกับชุมชนได้ ในอนาคตโครงการครูรัก(ษ์)ถิ่น จะเป็นการ
เตรียมความพร้อม ให้ครูเป็นผู้รู้เท่าการเปลี่ยน การแปลง ต้องปรับตัวได้เร็ว ไม่ว่าในภาวะแบบไหนเด็กก็จะ ได้รับการศึกษาที่เท่าเทียมกัน เราเชื่อมั่นว่าสถาบันการศึกษา ที่เข้าร่วมโครงการนี้จะผลิตและพัฒนาครูหัวใจเดียวกันที่ จะดึงศักยภาพให้นักศึกษาจบมาเป็นครูที่ดี มีความสร้างสรรค์ มุ่งมั่นของชุมชน”

รศ.ดร.ดารณี อุทัยรัตนกิจ
กรรมการบริหาร กสศ. และประธานอนุกรรมการพัฒนาระบบการผลิตและพัฒนาครูสำหรับโรงเรียนในพื้นที่ห่างไกล

”โครงการครูรัก(ษ์)ถิ่น เริ่มต้นมาตั้งแต่ปี 2563 โดยมีที่ มาจากโรงเรียนขนาดเล็กในพื้นที่ห่างไกลซึ่งจำเป็นต้อง คงอยู่เพื่อโอกาสทางการศึกษาเด็กท้องถิ่น
ไม่สามารถยุบ ควบรวมได้ จึงจำเป็นต้องมีการพัฒนาคุณภาพครูควบคู่ ไปกับการ
แก้ปัญหาครูโยกย้ายบ่อยจึงคิดวิธีให้คนในท้องถิ่น มาเรียนเป็นครูเพื่อกลับไปทำงานในบ้านเกิดตัวเอง ลดปัญหาการย้ายออกและขาดแคลนในอนาคต”

ดร.อุดม วงษ์สิงห์
ผู้อำนวยการสำนักพัฒนาคุณภาพครู
และสถานศึกษา กสศ.

”โครงการครูรัก(ษ์)ถิ่น เปรียบเสมือนงานวิจัยเพื่อพัฒนา ระบบการผลิตครูโดยใช้ความต้องการของโรงเรียนเป็นฐาน สร้างการมีส่วนร่วมของผู้เกี่ยวข้องในกระบวนการผลิตครู ตั้งแต่การคัดเลือกผู้เข้ามาเรียนรู้การปรับระบบการผลิตครู ของสถาบันผลิต(มหาวิทยาลัย) ไปจนถึงการพัฒนาโรงเรียน ปลายทางเพื่อสร้างโอกาสทางการศึกษาให้กับเด็กๆ ที่อยู่ใน ชุมชน พื้นที่ห่างไกล ซึ่งโรงเรียนขนาดเล็กมีความสำคัญต่อ ชุมชนและครูเป็นคนสำคัญที่จะพัฒนาทั้งเด็กๆ และชุมชน ให้เกิดความเท่าเทียม”

ผศ.ดร.พิศมัย รัตนโรจน์สกุล
ผู้จัดการโครงการพัฒนาและบริหารจัดการโครงการครูรัก(ษ์)ถิ่น